วันนี้วันจันทร์ที่ 30 กันยยายน 2556
มีการเรียนการสอนโดบอาจารย์จินตนา สุขสำราญ อาจารย์ได้ให้นักศึกษาที่ค้างงานการสาธิตต่างๆออกมานำเสนอเทคนิคการสอน อาทิเช่น การทดลอง และของเล่นเข้ามุม(งานกลุ่มกลุ่มละ 3 คน) รวมถึงของเล่นวิทยาศาสตร์ที่เด็กสามารถประดิษฐ์ขึ้นเองได้
- ไข่ตกไม่แตก เป็นการทดลอง
Science Experiences Management for Early Childhood
แฟ้มสะสมงานในรายวิชการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ภาคเรียนที่1/2556
วันจันทร์ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556
วันจันทร์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2556
วันนี้วันที่ 23 กันยายน 2556
วันนี้อาจารย์ตฤณ ได้ให้นักศึกษากลุ่มที่เพื่อนๆเลือกว่าการทำ Cooking กลุ่มไหนน่าสนใจ ให้เป็นตัวในการสาธิตการสอนการทำ Cooking ซึ่งสรุปออกมาได้ว่าจะทำข้าวผัด
อันดับแรกเพื่อที่ทำการสาธิตเป็นอาจารย์ ได้ออกมาพูดถึงการวางแผนงานทั้งหมด 3 แผ่น และพูดตามแผนหารสอน
วันนี้อาจารย์ตฤณ ได้ให้นักศึกษากลุ่มที่เพื่อนๆเลือกว่าการทำ Cooking กลุ่มไหนน่าสนใจ ให้เป็นตัวในการสาธิตการสอนการทำ Cooking ซึ่งสรุปออกมาได้ว่าจะทำข้าวผัด
อันดับแรกเพื่อที่ทำการสาธิตเป็นอาจารย์ ได้ออกมาพูดถึงการวางแผนงานทั้งหมด 3 แผ่น และพูดตามแผนหารสอน
การสาธิตการสอนการทำข้าวผัด
คุณครู : วันนี้เด็กๆๆเห็นอะไรบ้างค่ะ?
เด็ก : เด็กตอบจากสิ่งที่เด็กเห็น
วันนี้เด็กๆๆคิดว่า เด็กๆจะประกอบอาหารอะไรกัน
วันอาทิตย์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2556
- แกงจืดเต้าหู้ หมูสับ
จะมีแผ่นแรกจะเป็นเสมือนองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับแกงจืดเต้าหู้หมูสับ ซึ่งเพื่อนจะแบ่งเป็นอุปกรณ์ เครื่องปรุง ประโยชน์ หรือสารอาหารที่ได้รับ ส่วนแผ่นที่สอง เป็นวิธีหรือขั้นตอนการประกอบอาหาร สองแผ่นสุดท้ายจะเป็น การเขียนแผน จากการทำแกงจืดเต้าสหู้หมูสับ และสามารถบอกได้ว่าขั้นตอนใดที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
จะมีแผ่นแรกจะเป็นเสมือนองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับแกงจืดเต้าหู้หมูสับ ซึ่งเพื่อนจะแบ่งเป็นอุปกรณ์ เครื่องปรุง ประโยชน์ หรือสารอาหารที่ได้รับ ส่วนแผ่นที่สอง เป็นวิธีหรือขั้นตอนการประกอบอาหาร สองแผ่นสุดท้ายจะเป็น การเขียนแผน จากการทำแกงจืดเต้าสหู้หมูสับ และสามารถบอกได้ว่าขั้นตอนใดที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
- แซนวิช
จะมีแผ่นแรกจะเป็นเสมือนองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับแซนวิช ซึ่งเพื่อนจะแบ่งเป็นวัตถุดิบที่ใช้ในการประกอบอาหาร ส่วนแผ่นที่สอง เป็นวิธีหรือขั้นตอนการประกอบอาหาร สองแผ่นสุดท้ายจะเป็น การเขียนแผน จากการทำแซนวิช และสามารถบอกได้ว่าขั้นตอนใดที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
- วุ้นจะมีแผ่นแรกจะเป็นเสมือนองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับแซนวิช ซึ่งเพื่อนจะแบ่งเป็นวัตถุดิบที่ใช้ในการประกอบอาหาร ส่วนแผ่นที่สอง เป็นวิธีหรือขั้นตอนการประกอบอาหาร สองแผ่นสุดท้ายจะเป็น การเขียนแผน จากการทำแซนวิช และสามารถบอกได้ว่าขั้นตอนใดที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
จะมีแผ่นแรกจะเป็นเสมือนองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับวุ้น ซึ่งเพื่อนจะแบ่งเป็นวัตถุดิบที่ใช้ในการประกอบอาหาร ส่วนแผ่นที่สอง เป็นวิธีหรือขั้นตอนการประกอบอาหาร สองแผ่นสุดท้ายจะเป็น การเขียนแผน จากการทำวุ้น และสามารถบอกได้ว่าขั้นตอนใดที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
- ข้าวผัด
จะมีแผ่นแรกจะเป็นเสมือนองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับข้าวผัด ซึ่งเพื่อนจะแบ่งเป็นอุปกรณ์ เครื่องปรุง ประโยชน์ หรือสารอาหารที่ได้รับ ส่วนแผ่นที่สอง เป็นวิธีหรือขั้นตอนการประกอบอาหาร สองแผ่นสุดท้ายจะเป็น การเขียนแผน จากการทำข้าวผัด และสามารถบอกได้ว่าขั้นตอนใดที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
- ไข่ตุ๋นแฟนซี
ซึ่งกลุ่มของข้าพเจ้าได้เขียนแผนไข่ตุ๋นแฟนซี แผ่นแรกเขียนเกี่ยวกับข้อมูล หรือความรู้เบื้องต้นต่างๆเกี่ยวกับไข่ตุ๋น ซึ่งกลุ่มของข้าพเจ้าแบ่ง หัวข้อเป็น 5 หัวข้อ ดังนี้
1. รสชาติ
- หวาน
- เค็ม
2. ชนิด
- ไข่ตุ๋นทรงเครื่อง - ไข่ตุ่นหมูสับ - ไข่ตุ๋นต้มยำ
- ไข่ตุ๋นโบราณ - ไข่ตุ๋นญี่ปุ่น
3. อุปกรณ์
- ไมโครเวฟ / หม้อนึ่ง - ทัพพี - ช้อน / ส้อม
- มีด - ถ้วย
4. วัตถุดิบ
- ไข่ - น้ำเปล่า - น้ำมันหอย
- ซีอิ๋วขาว - ซอสปรุงรส - ผักชนิดต่างๆ
- เนื้อสัตว์
5. ประโยชน์
- โปรตีน - วิตามีน - ธาตุเหล็ก
- เกลือแร่ - ไขมันจากเนื้อสัตว์ - แคลเซียม
แผ่นที่ 2 เป็นการเขียนเกี่ยวกับ ขั้นตอนการทำ หรือวิธีการทำ
แผ่นที่ 3 เป็นการเขียนแผนและให้เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ด้วย คือ
ประสบการณ์สำคัญ : การตั้งสมมุติฐาน ถ้าไข่โดนความร้อนแล้วจะเป็นอย่างำร?
การสังเกตุ การเปรียบเทียบ สังเกตุไข่ว่าก่อนทำมีลักษณะอย่างไร? และหลังจากทำเสร็จแล้วไข่มีการเปลี่ยนแปลงแย่างไร?
วันศุกร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2556
วันพุธที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2556
วันจันทร์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2556
วันนี้ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากช่วงบ่ายมีการจัดงานเกษียณอาจารย์กรรณิการ์ สุขสม และข้าพเจ้าก็ได้ร่วมทำการแสดงโชว์เป็นการรำ ฟ้อนที และเพื่อนอีหนึ่งกลุ่ม เป็นการแสดง
สิ่งที่หาเพิ่มเติม
ไข่เอย...จงนิ่ม
- แก้ว 1 ใบ
- น้ำส้มสายชู
- ไข่ไก่ 1 ฟอง
ขั้นตอนการทดลอง
1. นำไข่ใส่ลงไปในแก้ว
2. เทน้ำส้มสายชูลงไปในแก้วให้ท่วมไข่
3. ทิ้งไว้ 1 คืน อดใจรอพอตอนเช้าเทน้ำส้มสายชูออก แล้วก็ลองจับไข่ที่แช่ไว้ดู
เพราะอะไรกันนะ
น้ำส้มสายชูมีกรดทำให้กัด หรือละลายแคลเซียมได้ เปลือกไข่มีแคลเซียมเป็นองค์ประกอบ เมื่อโดนน้ำส้มสายชูเปลือกไข่จึงนิ่ม เหมือนการที่รับประทานน้ำอัดลมมีกรด จึงสามารถกัดกระเพาะเราได้
วันนี้ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากช่วงบ่ายมีการจัดงานเกษียณอาจารย์กรรณิการ์ สุขสม และข้าพเจ้าก็ได้ร่วมทำการแสดงโชว์เป็นการรำ ฟ้อนที และเพื่อนอีหนึ่งกลุ่ม เป็นการแสดง
สิ่งที่หาเพิ่มเติม
ไข่เอย...จงนิ่ม
มาเสกไข่ให้นิ่มกันเถอะ
สิ่งที่ต้องใช้- แก้ว 1 ใบ
- น้ำส้มสายชู
- ไข่ไก่ 1 ฟอง
ขั้นตอนการทดลอง
1. นำไข่ใส่ลงไปในแก้ว
2. เทน้ำส้มสายชูลงไปในแก้วให้ท่วมไข่
3. ทิ้งไว้ 1 คืน อดใจรอพอตอนเช้าเทน้ำส้มสายชูออก แล้วก็ลองจับไข่ที่แช่ไว้ดู
เพราะอะไรกันนะ
น้ำส้มสายชูมีกรดทำให้กัด หรือละลายแคลเซียมได้ เปลือกไข่มีแคลเซียมเป็นองค์ประกอบ เมื่อโดนน้ำส้มสายชูเปลือกไข่จึงนิ่ม เหมือนการที่รับประทานน้ำอัดลมมีกรด จึงสามารถกัดกระเพาะเราได้
วันเสาร์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2556
วันจันทร์ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2556
วันนี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษานำการทดลองทางวิทยาศาสตร์ที่เหมาะสำหรับเด็กปฐมวัยมานำเสนอเป็นการสาธิตการสอนในรูปแบบของตนเอง
ซึ่งข้าพเจ้าได้เตรียมการทดลองที่มชื่อว่า เป่าลูกโป่งในขวด
วัสดุ/อุปกรณ์
- คัตเตอร์
- ขวดน้ำขนาด 1 ลิตร จำนวน 2 ขวด
- ลูกโป่งแบบบาง จำนวนแล้วแต่ความสะดวก
ขั้นตอนการสาธิตการเรียนการสอน
1. สมมุติฐาน
- คุณครูถามว่า"เด็กๆเห็นอะไรบนโต๊ะคุณครูบ้าง"
เด็กตอบว่า เห็นขวดน้ำ เห็นลูกโป่ง และคัตเตอร์ (โดยขั้นตอนนี้การพูดควรเรียงจากซ้ายมือของเด็กๆก่อน)
- คุณครูถามว่า"เด็กๆคิดว่าสิ่งที่เด็กๆเห็นจะสามารถนำไปทำอะไรได้บ้าง"
เด็กตอบว่า เอาขวดน้ำไปใส่น้ำ แล้วก็เป่าลูกโป่ง
2. ทดลอง/สาธิต
- คุณครูจะนำลูกโป่งใส่ลงไปในขวดน้ำที่เตรียมมา
- โดยที่ให้ปลายลูกโป่งครอบบริเวณปากขวดน้ำ
วันนี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษานำการทดลองทางวิทยาศาสตร์ที่เหมาะสำหรับเด็กปฐมวัยมานำเสนอเป็นการสาธิตการสอนในรูปแบบของตนเอง
ซึ่งข้าพเจ้าได้เตรียมการทดลองที่มชื่อว่า เป่าลูกโป่งในขวด
วัสดุ/อุปกรณ์
- คัตเตอร์
- ขวดน้ำขนาด 1 ลิตร จำนวน 2 ขวด
- ลูกโป่งแบบบาง จำนวนแล้วแต่ความสะดวก
ขั้นตอนการสาธิตการเรียนการสอน
1. สมมุติฐาน
- คุณครูถามว่า"เด็กๆเห็นอะไรบนโต๊ะคุณครูบ้าง"
เด็กตอบว่า เห็นขวดน้ำ เห็นลูกโป่ง และคัตเตอร์ (โดยขั้นตอนนี้การพูดควรเรียงจากซ้ายมือของเด็กๆก่อน)
- คุณครูถามว่า"เด็กๆคิดว่าสิ่งที่เด็กๆเห็นจะสามารถนำไปทำอะไรได้บ้าง"
เด็กตอบว่า เอาขวดน้ำไปใส่น้ำ แล้วก็เป่าลูกโป่ง
2. ทดลอง/สาธิต
- คุณครูจะนำลูกโป่งใส่ลงไปในขวดน้ำที่เตรียมมา
- โดยที่ให้ปลายลูกโป่งครอบบริเวณปากขวดน้ำ
วันจันทร์ที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2556
ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากเป็นวันสอบกลางภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 แต่ข้าเจ้าได้เปิดดูคลิปเพื่อศึกษาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์เพิ่มมากขึ้น จึงเลือกคลิปนี้เป็นการทดลอง ลูกโป่งโยคี
การทดลองครั้งแรก ใช้เพียงตะปูดอกเดียวเมื่อนำของที่มีน้ำหนักไปวางจึงทำให้ลูกโป่งแตก แต่เมื่อทดลองครั้งที่สอง เราได้เปลี่ยนให้มีตะปูหลายอันนำลูกโป่งวางบนตะปูแล้วจึงนำหนักสือหลายเล่มวางบนลูกโป่งแต่ลูกโป่งไม่แตก เพราะ เมื่อมีตะปูหลายๆๆดอกเป็นการเพิ่มพีื้นที่กระจายเพิ่มขึ้น ความดันที่ตะปูแต่ละดอกจึงน้อยลง ทำให้เราสามารถกดตะปูที่ลูกโป่งได้มากกว่าเดิม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)